Middle|Left Green

สินเชื่อเพื่อการส่งออกประเภทแพคกิ้งเครดิต ภายใต้เอกสาร L/C, สัญญาซื้อขาย, จำนำสินค้า

​​​​เปลี่ยนเอกสารให้เป็นเงิน
เพิ่มสภาพคล่องก่อนส่งออก​​​

InvisibleSectionName
10
Padding

​จุดเด่น

Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
20
Padding

​รายละเอียดสินเชื่อ

Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
30
Padding

​รายละเอียดการสมัคร

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
11
Padding
 
 

สัดส่วนการเบิกเงินกู้ก่อน
การส่งออก สูงสุดถึง 80%

เพียงยื่นเอกสารตามที่ธนาคารกำหนด

หมายเหตุ​: ​สัดส่วนการเบิกเงินกู้คิดจากมูลค่าเลตเตอร์ออฟเครดิต (Letter of Credit) สัญญาซื้อขาย (Contract) ใบรับจำนำสินค้า / ใบประทวนสินค้า (Stock)


Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
12
Padding

เงื่อนไขเอกสารส่งออกที่สามารถเบิกใช้สินเชื่อได้

 

เลตเตอร์ออฟเครดิต (L/C)

 

คำสั่งซื้อสินค้า (Purchase Order)

 

สัญญาซื้อขายหรือจำนำสินค้า (Contract)


Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
21
Padding

รายละเอียดสินเชื่อ

ดอกเบี้ย / ค่าธรรมเนียม

ตาม ระเบียบของธนาคาร

ระยะเวลา

ภายในระยะเวลาที่เอกสารกำหนด

วงเงิน

เป็นไปตามการพิจารณาของธนาคาร

ประเภทสินเชื่อ

สินเชื่อก่อนและหลังการส่งออกระยะสั้นไม่เกิน 180 วัน ภายใต้เงื่อนไขเทอมการค้าแบบเลตเตอร์ออฟเครดิต (Letter of Credit) สัญญาซื้อขาย (Contract) จำนำสินค้า (Stock)

เงื่อนไข

เงินที่ขอกู้ต้องนำไปใช้สำหรับซื้อสินค้าหรือจัดหาวัตถุดิบเพื่อผลิตสินค้าส่งออกเท่านั้น ธนาคารคิดเบี้ยปรับจากผู้ส่งออก หากไม่ส่งออก หรือส่งออกไม่ครบ


Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
31
Padding

รายละเอียดการสมัคร

คุณสมบัติ
  • เป็นผู้ประกอบการส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ
  • คำสั่งซื้อที่นำมาเป็นเอกสารเบิกใช้สินเชื่อต้องไม่มาจาก ประเทศที่ถูกสั่งห้าม ในการทำธุรกรรมโดยธนาคาร
เอกสาร

Black
Middle|Left
Left
FAQ
40
Padding

คำถามที่พบบ่อย

วงเงินหมุนเวียนคืออะไร ?
​วงเงินหมุนเวียน คือ สินเชื่อระยะสั้นที่ธนาคารให้กับผู้ประกอบการก่อน โดยที่ผู้ประกอบการไม่ต้องรอรับชำระเงินจากผู้ซื้อ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถนำเงินไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนสั่งซื้อวัตถุดิบในคำสั่งซื้อถัดไป ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์สินเชื่อเพื่อการส่งออกประเภทแพคกิ้งเครดิตภายใต้เอกสาร L/C, สัญญาซื้อขาย, จำนำสินค้า จัดเป็นสินเชื่อก่อนการส่งออกระยะสั้นโดยให้สินเชื่อบนเอกสารส่งออกประเภทเทอมการค้าครบทุกรูปแบบ ทั้งแบบเลตเตอร์ออฟเครดิต (Letter of Credit), สัญญาซื้อขาย, จำนำสินค้า ทำให้ผู้ส่งออกสามารถได้เงินไปเป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการได้ก่อน
สัดส่วนการเบิกเงินกู้คิดอย่างไร ?
​สัดส่วนการเบิกเงินกู้สินเชื่อเพื่อการส่งออกประเภทแพคกิ้งเครดิต จะติดจากมูลค่าเลตเตอร์ออฟเครดิต, สัญญาซื้อขาย, ใบรับจำนำสินค้า / ใบประทวนสินค้า โดยสัดส่วนการเบิกเงินกู้ก่อนการส่งออกสูงสุดอยู่ที่ 80% ของเอกสารดังกล่าว
แพคกิ้งเครดิตคืออะไร ?
​แพคกิ้งเครดิต คือ สินเชื่อที่มีเอกสารส่งออกเพื่อมาแสดงในการขอเบิกเงินกู้กับธนาคาร
ประเทศที่ถูกสั่งห้ามมีอะไรบ้าง ?
​ประเทศที่ถูกสั่งห้ามส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มประเทศที่ถูก Sanction หรือมีนโยบายควบคุมเงินตราต่างประเทศ
เบี้ยปรับผู้ส่งออกหากไม่ส่งออกหรือส่งออกไม่ครบคิดอย่างไร ?
​ธนาคารจะกำหนดเงื่อนไขมูลค่าส่งออกผ่านธนาคารไม่ต่ำกว่ามูลค่าสินเชื่อแพคกิ้งเครดิต​/ปี ทั้งนี้ ถ้าลูกค้าไม่สามารถดำเนินการได้ตามเงื่อนไข ธนาคารคิดเบี้ยปรับ 0.25% ของจำนวนเงินที่ไม่สามารถส่งมอบเงินตราต่างประเทศให้กับธนาคาร​

Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left