Middle|Left Black

e-Tax Invoice & e-Receipt

​​​​​​​​

None
10
Padding
คืออะไร
Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
30
Padding
ทำไมต้องสมัครบริการนี้
Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
20
Padding
คุณสมบัติการสมัครบริการ
Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
40
Padding
คำถามที่พบบ่อย
Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
12
Padding
 
 

บริการ e-Tax Invoice &
e-Receipt ของ KBank

เป็นบริการในการออกใบกำกับภาษีและใบเสร็จรับเงินรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งจะต้องลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) และต้องนำส่งข้อมูลให้แก่คู่ค้าและสรรพากร

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
31
Padding

ทำไมต้องสมัครบริการ e-Tax Invoice & e-Receipt ของ KBank?

ลดต้นทุนในการจัดการเอกสาร
และกระบวนการทำงาน

สะดวกและประหยัดเวลา
ในการจัดส่งเอกสาร

ประหยัดพื้นที่
ในการจัดเก็บเอกสาร

สะดวก รวดเร็ว
ในการค้นหาเอกสาร

ปลอดภัย มีมาตรฐาน
ในการจัดเก็บเอกสาร
ตามที่ธนาคารกำหนด


Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
21
Padding

คุณสมบัติการสมัครบริการ e-Tax Invoice & e-Receipt ของ KBank

  • ผู้ใช้บริการจะต้องลงทะเบียนเข้าโครงการ e-Tax กับกรมสรรพากร และขอ Digital Signature (ธนาคารดำเนินการให้)
  • ผู้ใช้บริการจะต้องมี บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน หรือ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ของธนาคารกสิกรไทย

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
41
Padding

คำถามที่พบบ่อย (บริการ e-Tax Invoice & e-Receipt ของ KBank)

บริการ e-Tax Invoice & e-Receipt ของ KBank เหมาะกับใคร?

ลูกค้าที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มกับกรมสรรพากร และต้องการออกเอกสาร เช่น ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงิน ใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้ หรือใบลดหนี้ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีการลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature)

ลายมือชื่อดิจิทัล Digital signature คืออะไร?

ลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) คือ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้น เพื่อยืนยันตัวตนของนิติบุคคลนั้นๆ สำหรับการออกเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์

ผู้ประกอบการต้องนำส่งข้อมูลใดให้แก่กรมสรรพากรบ้าง?

ข้อมูลเอกสารทางภาษี 4 ประเภท คือ 1. ใบกำกับภาษี (ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี) 2. ใบเสร็จรับเงิน 3. ใบเพิ่มหนี้ 4. ใบลดหนี้

ใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และใบเสร็จรับเงินอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องเก็บไว้นานเท่าใด?

ต้องเก็บรักษาใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และใบเสร็จรับเงินอิเล็กทรอนิกส์ไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี

สนใจสมัครบริการ e-Tax Invoice & e-Receipt ของ KBank หรือต้องการยกเลิกการใช้บริการ สามารถติดต่อได้ที่ไหน?

ลูกค้าธุรกิจที่สนใจ สามารถติดต่อได้ที่ผู้ดูแลความสัมพันธ์ลูกค้า หรือ K-BIZ Contact Center
02-888-8822


Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
32
Padding
 
 

ได้รับการรับรองจาก สพธอ.

ว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ
สําหรับผู้ให้บริการจัดทํา ส่งมอบ และเก็บรักษาข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ (ขมธอ. 21-2562) ระดับพื้นฐาน
ภายใต้ขอบข่ายการนำส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับใบกำกับภาษี
อิเล็กทรอนิกส์และใบรับอิเล็กทรอนิกส์​​

หนังสือรับรองระบบสารสนเทศของผู้ให้บริการนำส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์



Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
22
Padding

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
11
Padding

ร้านค้าที่ต้องการเข้าร่วม
Easy E-Receipt สำหรับปี 2567
เพื่อออกใบกำกับภาษี
ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
รูปแบบตามที่กรมสรรพากรกำหนด
สมัครเลยบริการ e-Tax Invoice &
e-Receipt ของ KBank

e-Tax Invoice & e-Receipt e-Tax Invoice & e-Receipt  
  • รีบสมัครวันนี้ ใช้บริการได้ภายใน 10 วันทำการ

    รีบสมัครวันนี้ ใช้บริการได้ภายใน 10 วันทำการ

    (นับวันถัดไปที่ธนาคารได้รับเอกสารใบสมัคร)

  • สมัครบริการง่ายเพียงมีบัญชีเงินฝากกสิกร หรือ สมัครบริการพร้อมเปิดบัญชีใหม่

    สมัครบริการง่ายเพียงมีบัญชีเงินฝากกสิกร หรือ สมัครบริการพร้อมเปิดบัญชีใหม่

    (บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน หรือ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ของธนาคารกสิกรไทย)

  • ลูกค้าธุรกิจที่สนใจสมัคร

    สามารถติดต่อได้ที่ผู้ดูแลความสัมพันธ์ลูกค้า
    หรือ K-BIZ Contact Center 02-888-8822



Black
Middle|Left
Left
มาตรการ “Easy E-Receipt” เป็นการให้สิทธิประโยชน์อะไร?

ผู้มีเงินได้ซึ่งมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แต่ไม่รวมถึงห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล หักลดหย่อนค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการเท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการสำหรับการซื้อสินค้าหรือการรับบริการในราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 50,000 บาทโดยจะต้องมีใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Tax Invoice) จากระบบใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Invoice & e-Receipt) ของกรมสรรพากรเว้นแต่ ค่าหนังสือ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และค่าบริการหนังสือ หนังสือพิมพ์ และนิตยสารที่อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต รวมถึงค่าสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นสินค้าที่ได้ลงทะเบียนกับกรมการพัฒนาชุมชนแล้ว จะจ่ายให้แก่ผู้มิใช่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มก็ได้ โดยจะต้องมีใบรับอิเล็กทรอนิกส์(e-Receipt) จากระบบ e-Tax Invoice & e-Receipt ของกรมสรรพากร

ผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าประเภทที่ออกใบกำกับภาษีเป็นค่าใดบ้างที่ไม่เข้าร่วมโครงการ Easy E-Receipt ?
  1. ค่าซื้อสุรา เบียร์ และไวน์
  2. ค่าซื้อยาสูบ
  3. ค่าซื้อรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และเรือ
  4. ค่าน้ำมันและก๊าซสำหรับเติมยานพาหนะ
  5. ค่าสาธารณูปโภค ค่าน้ำประปา ค่าไฟฟ้า ค่าบริการสัญญาณโทรศัพท์ ค่าบริการสัญญาณ
  6. อินเทอร์เน็ต
  7. ค่าบริการที่มีข้อตกลงการให้บริการและผู้รับบริการสามารถใช้บริการดังกล่าว
  8. นอกเหนือจากระยะเวลาตามที่กำหนดในข้อ 1) เช่น ค่าสมาชิกต่าง ๆ
  9. ค่าเบี้ยประกันวินาศภัย
ร้านค้า ผู้ประกอบการประเภทใดที่สามารถเข้าร่วมโครงการ Easy E-Receipt ได้?

ต้องเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และออกเอกสารใบกำกับภาษี แบบ เต็มรูป ตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Tax Invoice โดยต้องระบุเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร (เลขประจำตัวประชาชน) ของผู้ซื้อสินค้าหรือ ผู้รับบริการด้วย และส่งเอกสารให้ทางอีเมล โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขอื่น ๆ เป็นไปตามที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด

ระบบ e-Tax Invoice & e-Receipt คืออะไร? และ แตกต่างจากใบกำกับภาษีและใบรับในรูปแบบกระดาษอย่างไร?

e-Tax Invoice & e-Receipt คือ ใบกำกับภาษี (e-Tax Invoice) และใบรับ (e-Receipt) ที่ได้มีการจัดทำข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และได้ลงลายมือชื่อโดยใช้ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Certificate) ซึ่ง ประชาชนไม่ต้องเก็บรักษาใบกำกับภาษีและจัดส่งให้กรมสรรพากร ในการ เข้าร่วม มาตรการ โดยสามารถใช้ข้อมูล e-Tax Invoice ในฐานข้อมูลของกรมสรรพากรในการยื่นแบบแสดงรายการภาษี และเจ้าหน้าที่จะไม่ขอให้ส่งใบกำกับภาษีอีก หากมีข้อมูลในฐานข้อมูลของกรมสรรพากรแล้ว

ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากรที่สามารถนำมาใช้เป็นหลักฐานในการหักลดหย่อน หมายถึงอะไร?

ใบกำกับภาษีที่มีรายการอย่างน้อยดังต่อไปนี้

  1. คำว่า "ใบกำกับภาษี" ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด
  2. ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบกำกับภาษี
  3. ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
  4. หมายเลขลำดับของใบกำกับภาษี และหมายเลขลำดับของเล่ม (ถ้ามี)
  5. ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ
  6. จำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คำนวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าและหรือของบริการให้ชัดแจ้ง
  7. วัน เดือน ปี ที่ออกใบกำกับภาษี
  8. ข้อความอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนด เช่น คำว่าเอกสารออกเป็นชุด สำเนาใบกำกับภาษี ฯลฯ

ทั้งนี้ e-Tax Invoice ต้องมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร (เลขประจำตัวประชาชน) ของผู้มีเงินได้ที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการ ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด ด้วย

ใบกำกับภาษีมีข้อความไม่สมบูรณ์ เช่น เขียนชื่อ หรือที่อยู่ผู้ซื้อสินค้าผิด หรือมีการแก้ไข สามารถ นำมาใช้หักลดหย่อนได้หรือไม่?

หากใบกำกับภาษีนั้นมีรายการครบถ้วน แม้จะมีการระบุ ชื่อหรือที่อยู่ผู้ซื้อสินค้าผิด หรือมีการแก้ไขข้อความ ก็สามารถใช้หักลดหย่อนได้

ผู้ประกอบการสามารถสมัครบริการ e-Tax Invoice & e-Receipt ของ KBank ได้อย่างไร?

ติดต่อได้ที่ผู้ดูแลความสัมพันธ์ลูกค้า หรือ K-BIZ Contact Center 02-8888822

ผู้ประกอบการได้ประโยชน์อย่างไรจากการออกใบกำกับภาษีในรูปแบบ e-Tax Invoice?

ร้านค้ามีต้นทุนการปฏิบัติหน้าที่ทางภาษีลดลง เพราะ e-Tax Invoice มี ต้นทุนต่ำกว่ากระดาษและ กรมสรรพากรยังให้หักรายจ่ายการลงทุนและค่าใช้บริการระบบ e-Tax Invoice ได้ 2 เท่าอีกด้วย ตามพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 766) พ.ศ. 2566

None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left