Middle|Center White

บริการออกหนังสือค้ำประกันระหว่างประเทศและแสตนด์บาย แอล/ซี

​​​​​​​​​​คู่ค้ามั่นใจ ธุรกิจโตได้ทั่วโลก


InvisibleSectionName
10
Padding

​จุดเด่น

Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
20
Padding

​รายละเอียดการใช้บริการ

Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
30
Padding

​รายละเอียดการสมัคร

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
11
Padding
 

คู่ค้ามั่นใจในธุรกิจคุณ

ด้วยหนังสือค้ำประกันของธนาคารกสิกรไทย ที่ได้รับความเชื่อถือในระดับสากล

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
12
Padding
 

เพิ่มโอกาสในการเปิดตลาดใหม่ในต่างประเทศ

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
13
Padding
 

พร้อมให้คำปรึกษาด้านความเสี่ยง
ที่มาจากเงื่อนไขในหนังสือค้ำประกัน

ด้วยเครือข่ายของธนาคารกสิกรไทยทั่วโลก

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
21
Padding

รายละเอียดการใช้บริการ

เงื่อนไขบริการ
ข้อความในหนังสือค้ำประกันต้องผ่านความเห็นชอบจากเจ้าหน้าที่ธนาคารก่อน
ค่าธรรมเนียม
ขึ้นอยู่กับประเภทของหนังสือค้ำประกัน ระหว่าง 1.5 - 2.5% / ปี ขั้นต่ำ 1,000 บาท

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
31
Padding

รายละเอียดการสมัคร

เอกสาร
ขั้นตอนการสมัคร
  1. ผู้ประกอบการยื่นคำขอให้ธนาคารออกหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee หรือ Standby Letter of Credit)
  2. ธนาคารพิจารณาใบคำขอออกหนังสือค้ำประกันระหว่างประเทศ เอกสารประกอบ และตรวจสอบภาระวงเงินเพื่อพิจารณาอนุมัติ
  3. เมื่อได้รับอนุมัติ ผู้ประกอบการชำระค่าธรรมเนียม และธนาคารดำเนินการออกหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guaranteeหรือ Standby Letter of Credit) ให้แก่ผู้รับประโยชน์ในต่างประเทศ พร้อมจัดส่งสำเนาให้แก่ผู้ขอออกหนังสือค้ำประกัน
  4. ธนาคารตัวแทนในต่างประเทศจะแจ้งการออกหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee​ หรือ Standby Letter of Credit) ของธนาคารให้กับผู้รับประโยชน์

Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
32
Padding

คำถามที่พบบ่อย

หากผู้ประกอบการยังไม่ได้รับการชำระเงินค่าสินค้า ธนาคารจะรับผิดชอบอย่างไร ?

ผู้ได้รับประโยชน์จากหนังสือค้ำประกันสามารถเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันได้ หากผู้ขอให้ออกหนังสือค้ำประกันไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในหนังสือค้ำประกัน

ผู้ขอให้ออกหนังสือค้ำประกันต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกันเท่าไหร่ ? และใช้เอกสารอะไรบ้าง ?

ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนเนื่องจากหลักทรัพย์ค้ำประกันจะแตกต่างกันไปในลูกค้าแต่ละราย

ผู้ออกหนังสือค้ำประกันต้องเป็นผู้จ่ายค่าธรรมเนียมและดอกเบี้ยใช่หรือไม่ ?

ผู้ขอเปิดหนังสือค้ำประกันเป็นผู้รับภาระค่าธรรมเนียม

​​​​​

Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
 
Padding
Black
Middle|Left
Left